วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2559

หลักการเติม gerund
Gerund คือ คำกริยา + ing หรือ v-ing
    Gerund มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับ present participle แต่ทำหน้าที่ต่างกัน นั่นคือ present participle ทำหน้าที่เป็น ‘predicative adjunct’ และ คุณศัพท์ส่วน
gerund ทำหน้าที่เป็น คำนาม
    เมื่อ gerund เป็น คำนาม’ gerund จึงทำหน้าที่ได้ดังต่อไปนี้
    1. ใช้เป็นประธานของประโยค
    2. ใช้เป็นกรรมของบุพบท
    3. ใช้เป็นกรรมของคำกริยา vt
    4. ใช้ตามหลัง verb to be เพื่อแสดงตัวตนของประธาน (subjective comple-ment) 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการเติม gerund

การเติม s es ที่คำกริยา present simple tens

การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม  s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้าง
หลักการเติม s es มีดังนี้
หากประธานเป็นเอกพจน์ กริยาเติม s,es ส่วนประธานพหูพจน์ไม่ต้องเติมนะครับ หลักการเติมมีดังนี้
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการเติม s es
ตำแหน่งของ Infinitive with to
1. ใช้ทำหน้าที่เป็นคำนามซึ่งเป็นประธานของประโยค โดยมีความหมายว่า การหรือ ความ
To be a millionaire is my goal. (การได้เป็นเศรษฐีเป็นเป้าหมายของฉัน)

2. ใช้ตามหลังคำนาม หรือ สรรพนาม โดยทำหน้าที่คล้ายกับ Adjective ขยาย คำนาม หรือ สรรพนามนั้นๆ

I told him about the plan to surprise her. (ฉันบอกเขาเกี่ยวกับแผนการที่จะทำให้เธอประหลาดใจ)
I have something to tell you. (ฉันมีบางอย่างจะบอกคุณ) อ่านเพิ่มเติม


 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ infinitive without to
หลักการใช้ Past Tense
การเปลี่ยนรูปคำกริยาเป็น past tense มี 2 วิธี คือ
1. การเติม ed ที่ท้ายคำกริยาช่องที่ 1 (Regular Verb)
2. คำกริยาที่เปลี่ยนรูปใหม่ ( Irregular Verb)
หลักการเติมเติม ed ที่ท้ายคำกริยามีดังนี้
1.คำกริยาโดยทั่วไปเมื่อเปลี่ยนเป็นคำกริยาช่องที่ 2 ให้เติม ed ได้เลย เช่น อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หลักการเติม ed
วิธีการเติม ing
โดยปกติแล้ว กริยาทั่วๆไป เติม ing ได้เลย ยกเว้นบางคำเท่านั้น
  • sleep >> sleeping  นอนหลับ
  • eat >> eating กิน
  • drink >> drinking ดื่ม
  • go >> going ไป
  • fly >> flying บิน
1. กริยาที่มีสระเสียงสั้นตัวเดียว  (เสียง อะ อิ อุ โอะ เอาะ เป็นต้น) ตัวสะกดตัวเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วเติม ing อ่านเพิ่มเติม
หลักการเติม ing ที่ท้ายคำกริยา